http://valrom.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

เว็บไซต์>ประพันธ์ เวารัมย์

แนวข้อสอบท้องถิ่นและส่วนราชการอื่นๆ (โหลด/ดูข้อมูล)

 รวมรูปภาพ

 เฟซบุ๊ก (facebook) (หัดทำแนวข้อสอบท้องถิ่นและอื่นๆ)

สถิติ

เปิดเว็บ01/07/2011
อัพเดท26/09/2024
ผู้เข้าชม4,159,405
เปิดเพจ6,305,016

ปฎิทิน

« November 2024»
SMTWTFS
     12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930

เฟซบุ๊ก ประพันธ์ เวารัมย์

ความรู้ต่างๆ ที่น่ารู้ครับ

โบนัส (อปท.) แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฎิบัติราชการฯ

พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับปฎิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2548

พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไข ฉ 2 พ.ศ.2549

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

จุดเน้นสาระสำคัญพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

จุดเน้นพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2566

จุดเน้นระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563

จุดเน้นพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

แนวข้อสอบต่างๆ

พ.ร.บ.หรือกฎหมายต่างๆที่น่าออกข้อสอบของส่วนราชการต่างๆ

แนวข้อสอบและแนวคำบรรยายปริญญาโท ม.ราม

มุมอมยิ้ม

สินค้า

 หนังสือสอบ
iGetWeb.com
AdsOne.com

กรุงเทพมหานครรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการเป็นข้าราการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ 1/2563

(อ่าน 6329/ ตอบ 1)

เว็บมาสเตอร์

เว็บไซต์สมัครสอบ
http://www.bangkok.go.th/KSB/
กรุงเทพมหานครรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล

เข้ารับราชการเป็นข้าราการกรุงเทพมหานครสามัญ

ครั้งที่ 1/2563 รับสมัครระหว่างวันที่ 22  มกราคม  - 4 กุมภาพันธ์ 2563
https://is.gd/iHVhF0

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ 1/2563


ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล
เข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
ครั้งที่ 1/2563
http://ksb.bangkok.go.th





ผู้บริหาร สกก.


( ข้อมูลล่าสุด 31 ตุลาคม 2562 

คู่มือการปฏิบัติงาน



 

    • คู่มือข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ


01. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฯ 2554
02. การกำหนดตำแหน่ง
03. การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
04. การเลื่อนและแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปและประเภทวิชาการ
05. การโอน
06. การรักษาการในตำแหน่ง
07. การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
08. การประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
09. การเลื่อนเงินเดือน
10. ก.พ.7 และคู่มือการจัดทำ ก.พ.7 ที่ปรับปรุงใหม่สำหรับข้าราชการฯ
11. การกำหนดมาตรฐานการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้าง กทม. และ พนักงาน กทม.
12. การลาออกจากราชการ
13. แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการ กทม.
14. การอุทธรณ์ การร้องทุกข์และการคุ้มครองระบบคุณธรรม
15. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลกรุงเทพมหานคร

 

    • คู่มือข้าราชการครู   


        01. การบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย
        02. การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วยก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครู
        03. การจัดทำคำสั่งแต่งตั้ง (ย้าย) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร สายงานการบริหารสถานศึกษา
        04. การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีวิทยฐานะชำนาญการ สายงานการสอน
        05. การแต่งตั้ง (ย้าย) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร สายงานการสอน
        06. การโอนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร
        07. การดำเนินการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครได้รับเงินเดือน
        08. การดำเนินการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีและเลื่อนวิทยฐานะ
        09. การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร
        10. การจัดทำบัญชีถือจ่ายเงินเดือน
        11. การดำเนินการทางวินัย
        12. การลาออกจากราชการ

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

 
 
 
 ประกาศ อ.ก.ก.สามัญข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญฯ
   เรื่องการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และจัดตำแหน่ง

   ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญของทุกหน่วยงาน
   เข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่ง
 
 ประกาศ อ.ก.ก.สามัญข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญฯ
   เรื่องการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานตำแหน่ง

   มาตรฐานวิทยฐานะ และมาตรฐานตำแหน่งวิชาการ และ
   จัดตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
   กรุงเทพมหานครของทุกหน่วยงาน เข้าประเภทตำแหน่ง
           สายงาน ตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ และตำแหน่งวิชาการ
 
 บัญชีปรับปรุงมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ  (ปรับปรุง 22 พ.ค. 2560)
 
 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
       1) กลุ่มอาชีพบริหาร อำนวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ
           งานการทูตและต่างประเทศ
-นักบริหาร
-ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร
-ผู้อำนวยการ
-ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน
-ผู้ตรวจราชการ
-นักจัดการงานทั่วไป
-นักทรัพยากรบุคคล
-นิติกร
-นักปกครองเขต (ยกเลิก)
-เจ้าพนักงานเทศกิจ
-เจ้าพนักงานปกครอง
-เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
-นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
-นักวิจัยการจราจร
-นักวิชาการคอมพิวเตอร์
-นักวิชาการพัสดุ
-นักวิชาการสถิติ
-นักวิเทศสัมพันธ์
-พนักงานเทศกิจ
-เจ้าพนักงานธุรการ
-เจ้าพนักงานพัสดุ
-เจ้าพนักงานเวชสถิติ
-เจ้าพนักงานสถิติ
-พนักงานปกครอง

       2) กลุ่มอาชีพการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม
-นักวิเคราะห์งบประมาณ
-นักวิชาการคลัง
-นักวิชาการเงินและบัญชี
-นักวิชาการจัดเก็บรายได้
-นักวิชาการตรวจสอบภายใน
-นักบัญชี
-เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
-เจ้าพนักงานการคลัง
-เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้
 

       3) กลุ่มอาชีพคมนาคม ขนส่ง และติดต่อสื่อสาร
-นักประชาสัมพันธ์
-นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
-เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์
-เจ้าพนักงานสื่อสาร
-เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา
 

       4) กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
-นักวิชาการเกษตร
-เจ้าพนักงานการเกษตร

       5) กลุ่มอาชีพวิทยาศาสตร์
-นักวิทยาศาสตร์
-เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์

       6) กลุ่มอาชีพแพทย์ พยาบาล และสาธารณสุข
-นักกายภาพบำบัด
-นักจิตวิทยา
-ทันตแพทย์
-นักเทคนิคการแพทย์
-นายสัตวแพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ
-นายแพทย์
-เภสัชกร
-นักโภชนาการ
-นักรังสีการแพทย์
-นักวิชาการพยาบาล
-นักวิชาการสาธารณสุข
-นักวิชาการสุขาภิบาล
-นักอาชีวบำบัด (ยกเลิก)
-นักวิทยาศาสตร์การแพทย์
-นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย
-นักกิจกรรมบำบัด
-นักจัดการงานรักษาความสะอาด
-นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก
-แพทย์แผนไทย
-แพทย์แผนจีน
-นักจิตวิทยาคลินิก
-นักกายอุปกรณ์
-นักวิทยาศาสตร์การกีฬา
-นักวิชาการเวชสถิติ
-เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด
-ผู้ช่วยทันตแพทย์
-เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
-เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
-โภชนากร
-เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์
-เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์
-เจ้าพนักงานสาธารณสุข
-พยาบาลเทคนิค
-สัตวแพทย์
-เจ้าหน้าที่อนามัย (ยกเลิก)

       7) กลุ่มอาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และช่างเทคนิคต่างๆ
-นักจัดการงานโยธา
-เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
-มัณฑนากร
-นักวิชาการช่างศิลป์
-นักวิชาการแผนที่
-วิศวกร
วิศวกรเครื่องกล
-วิศวกรไฟฟ้า
-วิศวกรโยธา
-วิศวกรสุขาภิบาล
-นักเวชนิทัศน์
-สถาปนิก
-ช่างกายอุปกรณ์
-เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์
-นายช่างเขียนแบบ
-นายช่างเครื่องกล
-นายช่างเทคนิค
-นายช่างไฟฟ้า
-นายช่างภาพ
-นายช่างโยธา
-นายช่างศิลป์
 -นายช่างสำรวจ
-พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 

       8) กลุ่มอาชีพการศึกษา ศิลป สังคม และการพัฒนาชุมชน
-บรรณารักษ์
-นักผังเมือง
-นักพัฒนาการกีฬา
-นักพัฒนาการท่องเที่ยว
-นักพัฒนาสังคม
-นักวิเคราะห์ผังเมือง
-นักวิชาการจัดหาที่ดิน
-นักวิชาการละครและดนตรี
-นักวิชาการวัฒนธรรม
-นักวิชาการศึกษา
-นักวิชาการศึกษาพิเศษ (ยกเลิก)
-นักวิชาการศูนย์เยาวชน
-นักวิชาการสิ่งแวดล้อม
-นักสังคมสงเคราะห์
-คีตศิลปิน
-ดุริยางคศิลปิน
-เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม
-เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน
-เจ้าพนักงานห้องสมุด
 

* ข้อมูล ณ วันที่ 8 ก.พ. 2560
 
 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
 
 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการในสถาบันอุดมศึกษาของกรุงเทพมหานคร
 
 มาตรฐานความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน

   ของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

คู่มือการปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2561



คู่มือการปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2561

1. สำนักงานเลขานุการสภา
 
  ดาวน์โหลด
2. สำนักงานเลขานุการผู้ว่าฯ
 
  ดาวน์โหลด
3. สำนักงาน ก.ก
 
  ดาวน์โหลด
4. สำนักการคลัง
 
  ดาวน์โหลด
5. สำนักการจราจรและขนส่ง
 
  ดาวน์โหลด
6. สำนักการแพทย์
 
  ดาวน์โหลด
7. สำนักการโยธา
 
  ดาวน์โหลด
8. สำนักการระบายน้ำ
 
  ดาวน์โหลด
9. สำนักการศึกษา
 
  ดาวน์โหลด
10. สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
 
  ดาวน์โหลด
11. สำนักเทศกิจ
 
  ดาวน์โหลด
12. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
  ดาวน์โหลด
13. สำนักพัฒนาสังคม
 
  ดาวน์โหลด
14. สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
 
  ดาวน์โหลด
15. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
 
  ดาวน์โหลด
16. สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
 
  ดาวน์โหลด
17. สำนักสิ่งแวดล้อม
 
  ดาวน์โหลด
18. สำนักอนามัย
 
  ดาวน์โหลด
19. สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม
 
  ดาวน์โหลด
20. สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร
 
  ดาวน์โหลด
21. สำนักงานการเจ้าหน้าที่
 
  ดาวน์โหลด
22. สำนักงานปกครองและทะเบียน
 
  ดาวน์โหลด
23. สำนักงานตรวจสอบภายใน
 
  ดาวน์โหลด
24. สำนักงานประชาสัมพันธ์
 
  ดาวน์โหลด
25. สำนักงานกฎหมายและคดี
 
  ดาวน์โหลด
26. สำนักงานการต่างประเทศ
 
  ดาวน์โหลด
27. กองงานผู้ตรวจราชการ
 
  ดาวน์โหลด
28. สำนักงานเขต
 

  ดาวน์โหลด.

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับบุคคล

 เอกสารเผยแพร่สรุปเทคนิคการกำหนดตัวชี้วัดประเมินผล การปฏิบัติราชการ

   ระดับบุคคล และตัวอย่างตัวชี้วัดตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก

 

 คู่มือประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

   ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553

 

 เอกสารการประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร

   สามัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553

 

 คู่มือประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

   ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555

 

 คู่มือประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

   ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

 

 

 เอกสารการประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร

   สามัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

 

        เอกสารการประเมินผลปฏิบัติราชการระดับบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
          สามัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 และการเลื่อนเงินเดือน

 

        แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานคร ปี 2556     

          (ปรับปรุงใหม่)  การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2563

สมรรถนะข้าราชการกรุงเทพมหานคร

 รู้จัก ก.ก.

 
 
คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบึคลากรกรุงเทพมหานคร
ที่มา
          พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ หมวด ๑ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร” เรียกโดยย่อว่า “ก.ก.”
 
โครงสร้าง ก.ก.

 
     ๑)   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ
     ๒)   กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนห้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ ก.พ.ร. เลขาธิการ ก.ค.ศ. และเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
     ๓)   กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนกรุงเทพมหานคร จำ นวนสี่คน ได้แก่ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย ปลัดกรุงเทพมหานครผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานครซึ่งคัดเลือกกันเองจำนวนหนึ่งคน และหัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
     ๔)   กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยข้าราชการกรุงเทพมหานครแต่ละประเภทคัดเลือกกันเอง จำนวนห้าคน ได้แก่
             (ก) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวนสองคน
             (ข) ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวนสองคน
             (ค) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา จำนวนหนึ่งคน
     ๕)   กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกรรมการตาม ๑) ๒) ๓) และ ๔) ประชุมร่วมกัน คัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา หรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์แก่การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จำนวนห้าคน

     ให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นรองประธานกรรมการ และหัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเลขานุการ ก.ก. ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดำเนินการให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเองเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้แทนกรุงเทพมหานคร ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกกรรมการตาม (๓) ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งกรรมการตาม (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
 
อำนาจหน้าที่ ก.ก.
     ๑)   ให้คำแนะนำแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
     ๒)   ร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเสนอให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๔๔
     ๓)   ออกกฎ ก.ก. ข้อบังคับ หรือระเบียบ เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่นที่พระราชบัญญัตินี้ให้นำมาใช้บังคับ กฎ ก.ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
     ๔)   ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสำนัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร
     ๕)   ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร
     ๖)   พิจารณาเทียบตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
     ๗)   ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ ก.ก. มีมติเป็นประการใดแล้วให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามนั้น
     ๘)   กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลรวมทั้งตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให้มีอำนาจเรียกเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงานและส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร และให้ผู้แทนหน่วยงานและส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ข้าราชการกรุงเทพมหานครบุคลากรกรุงเทพมหานคร หรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงได้
     ๙)   กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือก การคัดเลือกและการขึ้นบัญชี รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบและการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ
     ๑๐)   กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
     ๑๑)   พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
     ๑๒)   ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น

 
คณะอนุกรรมการวิสามัญ
     ก.ก. มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ก. วิสามัญ” เพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ ก.ก. มอบหมาย จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้ง อ.ก.ก. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
ที่มา
         ก.ก. มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ก. วิสามัญ” เพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ ก.ก. มอบหมาย จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้ง อ.ก.ก. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
โครงสร้าง อ.ก.ก.วิสามัญ
        กฎ ก.ก. ว่าด้วยจำนวน  คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้ง วิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ อ.ก.ก.วิสามัญ พ.ศ. 2554  ได้บัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของ อ.ก.ก.วิสามัญแต่ละคณะ และการแต่งตั้ง อ.ก.ก.วิสามัญ ดังนี้

1) ประธาน อ.ก.ก.วิสามัญ ซึ่งแต่งตั้งจาก กรรมการ ก.ก.
2) อนุกรรมการ ซึ่งประกอบด้วย
          (ก)   กรรมการ ก.ก. ซึ่งมีความรู้ความสามารถประสบการณ์ตามภารกิจหน้าที่ของ อ.ก.ก.จำนวนไม่เกิน 2 คน
          (ข)   อนุกรรมการ ซึ่งแต่งตั้งจากส่วนราชการไม่สังกัดกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ของ 
อ.ก.ก.วิสามัญคณะนั้น จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (ค)   อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 ซึ่งต้องมีความรู้   ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการ ด้านกฎหมาย ด้านการศึกษาหรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ อ.ก.ก.วิสามัญคณะนั้น จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (ง)   อนุกรรมการซึ่งเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (จ)   ให้หัวหน้าสำนักงาน ก.ก. หรือผู้ช่วยหัวหน้าสำนักงาน ก.ก.ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. เป็นอนุกรรมการ และให้หัวหน้าสำนักงาน ก.ก.แต่งตั้งข้าราชการในสำนักงาน ก.ก. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ และอาจให้มีผู้ช่วยเลขานุการไม่เกิน 2 คนด้วยก็ได้

อ.ก.ก.วิสามัญ 8 คณะ
 
1) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับระบบราชการ การจัดส่วนราชการและค่าตอบแทน
2) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการศึกษา
3) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ
4) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ
5) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับบุคลากรกรุงเทพมหานคร
6) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหา พัฒนาบุคลากร และการประเมิน
7) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของ กทม.
8) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการส่งเสริมจริยธรรมเพื่อราชการใสสะอาด
 
 คณะอนุกรรมการสามัญ
 อ.ก.ก.สามัญ ข้าราชการ
 อ.ก.ก.สามัญประจำหน่วยงาน

รู้จัก ก.ก.
 
 
คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบึคลากรกรุงเทพมหานคร
ที่มา
          พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ หมวด ๑ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร” เรียกโดยย่อว่า “ก.ก.”
 
โครงสร้าง ก.ก.

 
     ๑)   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ
     ๒)   กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนห้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ ก.พ.ร. เลขาธิการ ก.ค.ศ. และเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
     ๓)   กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนกรุงเทพมหานคร จำ นวนสี่คน ได้แก่ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย ปลัดกรุงเทพมหานครผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานครซึ่งคัดเลือกกันเองจำนวนหนึ่งคน และหัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
     ๔)   กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยข้าราชการกรุงเทพมหานครแต่ละประเภทคัดเลือกกันเอง จำนวนห้าคน ได้แก่
             (ก) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวนสองคน
             (ข) ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวนสองคน
             (ค) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา จำนวนหนึ่งคน
     ๕)   กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกรรมการตาม ๑) ๒) ๓) และ ๔) ประชุมร่วมกัน คัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา หรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์แก่การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จำนวนห้าคน

     ให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นรองประธานกรรมการ และหัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเลขานุการ ก.ก. ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดำเนินการให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเองเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้แทนกรุงเทพมหานคร ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกกรรมการตาม (๓) ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งกรรมการตาม (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
 
อำนาจหน้าที่ ก.ก.
     ๑)   ให้คำแนะนำแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
     ๒)   ร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเสนอให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๔๔
     ๓)   ออกกฎ ก.ก. ข้อบังคับ หรือระเบียบ เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่นที่พระราชบัญญัตินี้ให้นำมาใช้บังคับ กฎ ก.ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
     ๔)   ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสำนัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร
     ๕)   ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร
     ๖)   พิจารณาเทียบตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
     ๗)   ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ ก.ก. มีมติเป็นประการใดแล้วให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามนั้น
     ๘)   กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลรวมทั้งตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให้มีอำนาจเรียกเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงานและส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร และให้ผู้แทนหน่วยงานและส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ข้าราชการกรุงเทพมหานครบุคลากรกรุงเทพมหานคร หรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงได้
     ๙)   กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือก การคัดเลือกและการขึ้นบัญชี รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบและการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ
     ๑๐)   กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
     ๑๑)   พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
     ๑๒)   ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น

 
คณะอนุกรรมการวิสามัญ
     ก.ก. มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ก. วิสามัญ” เพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ ก.ก. มอบหมาย จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้ง อ.ก.ก. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
ที่มา
         ก.ก. มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ก. วิสามัญ” เพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ ก.ก. มอบหมาย จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้ง อ.ก.ก. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ก.
โครงสร้าง อ.ก.ก.วิสามัญ
        กฎ ก.ก. ว่าด้วยจำนวน  คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้ง วิธีการได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ อ.ก.ก.วิสามัญ พ.ศ. 2554  ได้บัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของ อ.ก.ก.วิสามัญแต่ละคณะ และการแต่งตั้ง อ.ก.ก.วิสามัญ ดังนี้

1) ประธาน อ.ก.ก.วิสามัญ ซึ่งแต่งตั้งจาก กรรมการ ก.ก.
2) อนุกรรมการ ซึ่งประกอบด้วย
          (ก)   กรรมการ ก.ก. ซึ่งมีความรู้ความสามารถประสบการณ์ตามภารกิจหน้าที่ของ อ.ก.ก.จำนวนไม่เกิน 2 คน
          (ข)   อนุกรรมการ ซึ่งแต่งตั้งจากส่วนราชการไม่สังกัดกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ของ 
อ.ก.ก.วิสามัญคณะนั้น จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (ค)   อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 ซึ่งต้องมีความรู้   ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการ ด้านกฎหมาย ด้านการศึกษาหรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ อ.ก.ก.วิสามัญคณะนั้น จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (ง)   อนุกรรมการซึ่งเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
          (จ)   ให้หัวหน้าสำนักงาน ก.ก. หรือผู้ช่วยหัวหน้าสำนักงาน ก.ก.ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. เป็นอนุกรรมการ และให้หัวหน้าสำนักงาน ก.ก.แต่งตั้งข้าราชการในสำนักงาน ก.ก. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ และอาจให้มีผู้ช่วยเลขานุการไม่เกิน 2 คนด้วยก็ได้

อ.ก.ก.วิสามัญ 8 คณะ
 
1) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับระบบราชการ การจัดส่วนราชการและค่าตอบแทน
2) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการศึกษา
3) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ
4) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ
5) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับบุคลากรกรุงเทพมหานคร
6) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหา พัฒนาบุคลากร และการประเมิน
7) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของ กทม.
8) อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับการส่งเสริมจริยธรรมเพื่อราชการใสสะอาด
 
 คณะอนุกรรมการสามัญ
 อ.ก.ก.สามัญ ข้าราชการ
 อ.ก.ก.สามัญประจำหน่วยงาน

รู้จัก ก.พ.ค.







DetailsHits: 5525







  

 
         คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการกรุงเทพมหานคร หรือ เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร” ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบ   ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 หมวด 2  (มาตรา 30 – 39)  มีหน้าที่เสนอแนะ หรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบ คุณธรรมในราชการ พิจารณาวินิจฉัยอุทรณ์ ร้องทุกข์ และการคุ้มครองระบบคุณธรรม รวมไปถึงการออก กฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตามแนวทางที่กฎหมายกำหนด ก.พ.ค. จะทำให้ที่ในลักษณะองค์กรกึ่งตุลาการ ที่ดูแลการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องอุทธรณ์ ร้องทุกข์ของข้าราชการ เป็นองค์กรพิทักษ์คุณธรรมด่านสุดท้ายของฝ่ายบริหาร เมื่อผ่านการพิจารณาวินิจฉัยจาก ก.พ.ค. แล้วหากผู้อุทธรณ์ยังติดใจสงสัย ก็สามารถไปฟ้องร้องคดีต่อศาลศาลปกครองกลางได้
 



โครงสร้างของ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร







DetailsHits: 2711
 

 
          กำหนดให้มี ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยกรรมการ 5 คน ต้องทำงานเต็มเวลา มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี นับแต่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว มีหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. เป็นเลขานุการของ ก.พ.ค.กรุงเทพมหานคร
          ที่มาของ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร มาจากการคัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร  ประกอบด้วย ประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ได้รับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน กรรมการ ก.ก. ผู้ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งได้รับเลือกโดย ก.ก. และหัวหน้าสำนักงาน ก.ก.เป็นกรรมการและเลขานุการ




More Articles...


  1. อำนาจหน้าที่ ของ ก.พ.ค.กรุงเทพมหานคร



Page 1 of 2
«StartPrev12NextEnd»

ที่มา
http://203.155.220.238/csc/index.php/en/capacity






























































































































































































































































Link: คลิ๊กที่นี่

Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

view

 แบ่งปันความรู้

 หากใฝ่ฝัน ความก้าวหน้า

 จงสู้ต่อไป อย่าไหวหวั่น

 ขอเพียงตั้งใจ ใฝ่รู้

 เพราะเราคือ คนไทยใจกล้าแกร่ง

view