http://valrom.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

เว็บไซต์>ประพันธ์ เวารัมย์

แนวข้อสอบท้องถิ่นและส่วนราชการอื่นๆ (โหลด/ดูข้อมูล)

 รวมรูปภาพ

 เฟซบุ๊ก (facebook) (หัดทำแนวข้อสอบท้องถิ่นและอื่นๆ)

สถิติ

เปิดเว็บ01/07/2011
อัพเดท26/09/2024
ผู้เข้าชม4,158,174
เปิดเพจ6,303,771

ปฎิทิน

« November 2024»
SMTWTFS
     12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930

เฟซบุ๊ก ประพันธ์ เวารัมย์

ความรู้ต่างๆ ที่น่ารู้ครับ

โบนัส (อปท.) แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฎิบัติราชการฯ

พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับปฎิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2548

พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไข ฉ 2 พ.ศ.2549

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

จุดเน้นสาระสำคัญพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

จุดเน้นพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2566

จุดเน้นระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563

จุดเน้นพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

แนวข้อสอบต่างๆ

พ.ร.บ.หรือกฎหมายต่างๆที่น่าออกข้อสอบของส่วนราชการต่างๆ

แนวข้อสอบและแนวคำบรรยายปริญญาโท ม.ราม

มุมอมยิ้ม

สินค้า

 หนังสือสอบ
iGetWeb.com
AdsOne.com

แนะนำโปรแกรม Excel

(อ่าน 343/ ตอบ 0)

เว็บมาสเตอร์

แนะนำโปรแกรม Excel




          Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ โดยจะเก็บข้อมูลลงในตารางสี่เหลี่ยมที่เรียกว่า เซล (Cell)ที่สามารถนำเอาเซลมาอ้างอิงใส่ในสูตร เพื่อให้โปรแกรมคำนวณหาผลลัพธ์จากข้อมูลที่บันทึกไว้ได




แนะนำหน้าต่างของวินโดว์ Excel






          - ปุ่ม  เรียกว่า “Office Button” แสดงเมนูที่ใช้จัดการไฟล์ทั่วไป เช่น New, Open, Save as, Print และ Publish เป็นต้น 
           - Quick Access Toolbar แสดงปุ่มคาสั่งที่ใช้บ่อยๆ โดยค่าเริ่มต้นจะแสดงเครื่องมือ  Save,
Undo ,และ Redo ซึ่งเราสามารถกาหนดเครื่องมือในส่วนนี้เองได้

           - Title bar แสดงชื่อเวิร์กบุ๊คที่ใช้งานอยู่และชื่อโปรแกรม ในที่นี้คือ Microsoft Excel
           - Ribbon เป็นกลุ่มคาสั่งที่เก็บเครื่องมือออกเป็นหมวดหมู่ โดยแสดงเป็นแท็บ แทนที่การเรียกใช้เมนูคาสั่งต่างๆในเวอร์ชั่นก่อนๆ
           - Contextual tabs เป็นแท็บพิเศษที่จะแสดงเมื่อใส่ออบเจ็คลงในเวิร์กชีต เช่น เมื่อแทรก WordArt โปรแกรมจะแสดง Drawing Tool ด้านบนและมีแท็บ Format ที่ใช้สาหรับตั้งค่า WordArt แสดงอยู่ด้านล่าง
           - Worksheet เป็นแผ่นงานมีลักษณะเป็นตาราง สาหรับพิมพ์ข้อความ หรือตัวเลข โดยค่าที่ตั้งไว้เมื่อเข้าใช้โปรแกรมจะมี 3 sheet คือ sheet1,sheet2 และsheet3สามารถ
เพิ่มจำนวนเวิร์กชีตในเวิร์กบุ๊คได้ตามต้องการ
           - View Shortcuts ใช้ดูมุมมองเอกสาร โดยจะแสดงมุมมองของเอกสารในลักษณะต่างๆ
           - Zoom และ Zoom Slider เป็นเครื่องมือย่อ-ขยายหน้าจอ โดยเลือกขนาดตามเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการย่อ-ขยาย หรือเลื่อนสไลเดอร์ที่เครื่องมือ Zoom Slider ตามความต้องการ


การสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่




เวิร์กชีต ( Worksheet )   หรือถ้าเป็นโปรแกรมExcelภาษาไทยจะเรีนกว่า แผ่นงาน ในแผ่นงานจะประกอบด้วยช่องตารางสี่เหลี่ยมจำนวนมากซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้


 Row ( แถว )                                          คือพื้นที่แถวแนวนอนจากบนลงล่าง ตั้งแต่แถวที่ 1 ไปจนถึง
                                                                 แถวที่ 65536 ชื่อของเถวคือหมายเลขที่แสดงที่หัวแถว 
 Column ( คอลัมน์ )                             คือพื้นที่คอลัมน์แนวตั้งจากซ้ายไปขวา จากคอลัมน์ A ไปจนถึง
                                                                 คอลัมน์ IV จะมัทั้งหมด 256 คอลัมน์ ชื่อของคอลัมน์คือ                                                                  ชื่อตัวอักษรที่อยู่บนหัวคอลัมน์ เช่น A, B, C,... 
 Cell ( เซล )                                            อยู่ตรงคอลัมน์ B แถวที่ 3 ก็จะเรียกว่าเซล B3                                                                   เซลที่กำลังเลือกหรือกำลังทำงาน เราเรียกเซลนั้นว่า Active cel


            เริ่มใส่ข้อมูล เมื่อเข้าสู่ Excel โปรแกรมจะสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่ให้โดยอัติโนมัติพร้อมตั้งชื่อว่า Book1 l


           จัดรูปแบบให้เวิร์กชีต เราสามารถตกแต่งข้อมูลให้น่าสนใจ เช่น เน้นข้อความหัวเรื่องด้วยตัวหนา สีแดง  เพื่อแยกข้อมูลให้ดูแตกต่างกัน




 การเก็บบันทึกเวิรก์บุ๊ค
 1.คลิกปุ่ม ( บันทึก ) หรือกด Ctrl+S จากแป้นพิมพ์
 2.เลือกไดรว์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บบันทึก
 3.ตั้งชือที่ช่อง File Name ตั้งชื่อได้ยาว 256 ตัวอักษร ยกเว้น\ / * < >!
 4.คลิกที่ปุ่มคำสั่ง บันทึก






การใช้แถบเครื่องมือ


          เครื่องมือใน Excel 2003 ก็จะมีหน้าตาคล้ายๆกับ Office ตัวอื่นๆ ตามปกติจะแสดงเพียง 2 ชุดคือ  แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) และ Formatting ( จัดรูปแบบ )




           แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ หรือเป็นการทำงานพื้นฐานของโปรแกรม  เช่น ปุ่ม New , Open




            มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบข้อมูลในเซล เช่น เลือกฟอนต์ ขนาด หรือลักษณะ, จัดข้อมูลชิดขวา ซ้าย และการใส่สีข้อความหรือพื้น ฯลฯ




การเปิดงานเก่ามาใช้งาน


 1. คลิกปุ่ม Open ( เปิด ) หรือกดคีย์ Ctrl+O
 2. คลิกที่ลูกศรซ้ายช่อง Look in ( มองหาใน ) แล้วเลือกไดรว์และดับเบิ้ลคลิกที่โฟลเดอร์ที่เก็บเวิร์กบุ๊กไว้
 3. คลิกที่ชื่อไฟล์เวิร์กบุ๊ค
 4. คลิกที่ปุ่ม ( เปิด )




การแก้ไขข้อมูลในเซล


1. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไป
2. คลิกที่เซลที่จะแก้ไข แล้วกดปุ่ม F2 ที่คีย์บอร์ด จะเป็นการแก้ไขในโหมด Edit
3. ดับเบิ้ลคลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์ไปแก้ไขข้อมูลภายในเซลได้
4. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไขแล้วดูที่แถบสูตรคำนวณ ( formula bar )  แล้วคลิกเมาส์ที่แถบสูตรเลยเพื่อแก้ไข
  ข้อมูล







ลากเมาส์คลุมข้อความที่ต้องการแก้ไข แล้วสามารถพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไปได้ 


ที่มา


http://www.skr.ac.th/link/web_education/web_teacher/com/ben/web_30201/website_m2/excel/html/index_01.html



Link: คลิ๊กที่นี่

Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

view

 แบ่งปันความรู้

 หากใฝ่ฝัน ความก้าวหน้า

 จงสู้ต่อไป อย่าไหวหวั่น

 ขอเพียงตั้งใจ ใฝ่รู้

 เพราะเราคือ คนไทยใจกล้าแกร่ง

view