http://valrom.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

เว็บไซต์>ประพันธ์ เวารัมย์

แนวข้อสอบท้องถิ่นและส่วนราชการอื่นๆ (โหลด/ดูข้อมูล)

 รวมรูปภาพ

 เฟซบุ๊ก (facebook) (หัดทำแนวข้อสอบท้องถิ่นและอื่นๆ)

สถิติ

เปิดเว็บ01/07/2011
อัพเดท12/03/2024
ผู้เข้าชม4,086,322
เปิดเพจ6,206,086

ปฎิทิน

« May 2024»
SMTWTFS
   1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031 

เฟซบุ๊ก ประพันธ์ เวารัมย์

ความรู้ต่างๆ ที่น่ารู้ครับ

โบนัส (อปท.) แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฎิบัติราชการฯ

พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับปฎิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2548

พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไข ฉ 2 พ.ศ.2549

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

จุดเน้นสาระสำคัญพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

จุดเน้นพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2566

จุดเน้นระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563

จุดเน้นพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562

จุดเน้นพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

แนวข้อสอบต่างๆ

พ.ร.บ.หรือกฎหมายต่างๆที่น่าออกข้อสอบของส่วนราชการต่างๆ

แนวข้อสอบและแนวคำบรรยายปริญญาโท ม.ราม

มุมอมยิ้ม

สินค้า

 หนังสือสอบ
iGetWeb.com
AdsOne.com

ทำไมต้องใช้ดินสอเบอร์ 2 ในการทำข้อสอบ

(อ่าน 288/ ตอบ 0)

เว็บมาสเตอร์

 การระบายคำตอบบนกระดาษคำตอบของข้อสอ[ในแต่ละวิชาคงเป็นอะไรที่เรารู้จักกันดี และทุกครั้งอาจารย์ก็จะบอกให้เราเตรียมดินสอเบอร์ 2 มาเพื่อระบายคำตอบลงในกระดาษคำตอบ เคยสงสัยกันบ้างมั๊ย ว่าทำไมต้องใช้ดินสอเบอร์ 2?



        แนวคิดนี้เกิดขึ้นในปี 1931 โดยครูฟิสิกส์โรงเรียนมัธยมชื่อ Reynold Johnson ขณะที่เขากำลังทำการตรวจข้อสอบ เขาเกิดสงสัยว่าน่าจะมีวิธีการอื่นที่เขาจะตรวจข้อสอบได้ที่ไม่ต้องตรวจทุก ข้อเองด้วยมือ


        เขารู้ว่า แกรไฟต์เป็นวัสดุที่ในดินสอที่ใช้ในการเขียน ซึ่งคุณสมบัติหนึ่งของแกรไฟต์ที่มีการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนเป็นแนวระนาบ โดยอิเล็กตรอนวงนอกสุดสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระภายในวัสดุ จึงทำให้มันสามารถนำไฟฟ้าได้


         จอห์นสันจึงได้คิดค้นเครื่องตรวจข้อสอบจากกระดาษคำตอบที่มีการระบายด้วยดินสอขึ้น และขายไอเดียให้กับ IBM ได้ผลิตเครื่องตรวจกระดาษคำตอบเป็นเครื่องแรก  แต่ในตอนนั้นดินสอเบอร์ ก็ยังไม่ได้เป็นปัญหาจนกระทั่งรุ่นของเครื่องที่ถูกนำมาใช้ในปี 1960 -1970 ซึ่งเป็นเครื่องที่มีอุปกรณ์ตรวจวัดการดูดกลืนแสงที่เรียกว่า phototubes ทำให้ไม่สามารถตรวจวัดแสงได้ในบางจุดที่ต้องการบันทึกคำตอบ จึงต้องใช้แกรไฟต์ที่เฉพาะมากขึ้น


          เนื่องจากการทำงานของเครื่องตรวจกระดาษคำตอบในปัจจุบันนั้น จะใช้หลักการการวัดการสะท้อนของแสง ซึ่งคือจุดไหนมีการระบายคำตอบไว้จะมีการดูดกลืนแสงไว้ และส่วนไหนที่ไม่มีการระบายคำตอบ แสงก็จะสะท้อนกลับหมด โดยปริมาณของแสงที่สะท้อนกลับจะบอกถึงความเข้มที่ระบายซึ่งที่ต้องใช้ดินสอ เบอร์ 2ก็เพราะว่าดินสอเบอร์ มีปริมาณคาร์บอนมากพอที่จะดูดกลืนแสงได้ และก็เบาพอที่จะสามารถลบให้สะอาดได้นั่นเอง


 เกร็ดความรู้


         ดินสอที่ใช้โดยทั่วไปนั้น ไส้ดินสอทำด้วยแกรไฟต์ (Graphite) ผสมกับ Clay ซึ่งเป็นดินชนิดหนึ่ง ซึ่งจะใช้เพื่อช่วยในเรื่องของความแข็งหรืออ่อนของไส้ดินสอ  ซึ่งสามารถระบุ ความเข้มของดินสอเอาไว้ด้วยตามระบบยุโรป โดยใช้อักษร 


          "H" (hardness) หมายถึง ความแข็งของไส้ดินสอ
          "B" (blackness) หมายถึง ความเข้ม
           "F" (fine point) หมายถึง เนื้อละเอียด


           ดินสอสำหรับศิลปะจะมีความเข้มหลายขนาดให้เลือกใช้ ซึ่งมีตั้งแต่ดินสอที่แข็งและสีอ่อน ไปจนถึงสีเข้มมาก โดยมักเรียงตามลำดับต่อไปนี้


 


          นอกจากนี้แล้วก็ยังมีระบบอเมริกันที่ใช้ตัวเลขเพียงอย่างเดียว โดยสามารถเทียบประมาณกับระบบยุโรปได้ดังนี้



             ดินสอที่เขียนกันโดยทั่วไป มีความเข้มระดับ HB แต่ดินสอสำหรับระบายกระดาษคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษคำตอบในการทำข้อสอบต้องใช้ความเข้มระดับ 2B ขึ้นไป


ข้อมูล th.wikipedia.org/wiki/ดินสอ


ที่มา : http://www.vcharkarn.com/varticle/502506


คัดลอกมากจาก 


http://www.sobkroo.com/detail_room_main5.php?nid=9936


Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

view

 แบ่งปันความรู้

 หากใฝ่ฝัน ความก้าวหน้า

 จงสู้ต่อไป อย่าไหวหวั่น

 ขอเพียงตั้งใจ ใฝ่รู้

 เพราะเราคือ คนไทยใจกล้าแกร่ง

view